Corrections

BANTU BUAT PEMBETULAN SEKARANG!Tidak dapat dibatalkan

Teks daripada jimsalsa - ภาษาไทย

  • แอมเนสตี้ฯ

    • บทความเรื่อง แอมเนสตี้ฯ พบ ๑๑๓ ประเทศทั่วโลก รวมไทย จำกัดสิทธิ คุกคามสื่อ กล่าวถึงบทวิเคราะห์ล่าสุดขององค์การ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชิ่นแนล ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนทั่วโลกในปี ๓๕๕๘ และ ๓๕๕๙ ภายในบทวิเคราะห์ดังกล่าวผู้เชี่ยวชาญทางด้านสิทธิมนุษยชนบ่งบอกว่าช่วงปี ๒๕๕๘ มีการละเมิดสิทธิด้านการแสดงออก คุกคามสื่อ ใน ๑๑๗ ประเทศ นายชำนาญ จันทร์เรือง ประธานกรรม แอมเนสตี้อินเตอร์เนชั่นแนลประเทศไทย เปิดเผยวา่ในกลุ่ม ๑๗๐ ประเทศที่ถูก แอมเนสตี้ สำรวจ มีอย่างน้อย ๑๑๓ ประเทศซึ่งปกครองด้วยรัฐลบาลที่ไม่ปัฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างชาติทางสิทธิมนุษยชน ในประเทศกลุ่มนั้นผู้คนและนักข่าวถูกรัฐบาลห้ามแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี ทั้งๆที่ในบางประเทศสถานการณ์ดีขึ้น แต่โดยมาก เหตุการณ์แย่ลง นายชำนาญ จันทร์เรือง ยังอธิบายว่าในปัจจุบันนี๋ มีคนจำนวนจนถึง ๖๐ ล้านที่กำลังหนีความเสี่ยงในประเทศของตัวเอง แม้แต่สัญญาหลากหลายระหว่างชาติหักหาญให้ผู้ลงนามต้องต้อนรับก็ตตาม แต่เจ้าหน้าที่ในหลายที่ยังไม่ยอมรับให้พวกผู้ลี้ภัยเข้าประเทศ และพยายามส่งผู้อพยพกลับไปประเทศของพวกเขา สิทธิมนุษยชนนับว่าเป็นแนวคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นในกลุ่มประเทศตะวันตก ทั้งๆที่ในประวัติศาสตร์เคยมีคนคิดออกแนวคิดคล้ายคลึง แต่สิทธิมนุษยชนซึ่งมีอยู่ในวันนี้เกิดจากการปัฏิวัติฝรั่งเศส ต่อไปแนวคิดนั้นแพร่กระจายไปทั่วโลก ในช่วงเวลาที่ผ่านมาจำนวนประเทศที่ปัฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนเพิ่มเติมเรื่อยๆ ในบางกรณีเจ้าหน้าที่ของประเทศที่กำลังพัฒนายอมประพฤติตามสิทธิดังกล่าวเพราะการรับเงินช่วยเหลือพัฒนาจากชาติตะวันตกขึ้นอยู่กับการกระทำนั้น ในปัจจุบันนี้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงแล้วเพราะประเทศใดที่ต้องการการช่วยเหลือในการพัฒนาไม่พึ่งชาติตะวันตกอีกแล้ว ในเขตเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มีประเทศใหม่ซึ่งสามารถลงทุนทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้านได้เช่นอินเดีย หรือ จีน ทั้งสองมีพลังทางเศรษฐกิจมากและไม่ค่อยสนใจเรื่องสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ตัวอย่างเช่น ในขณะที่องค์การสหประชาชาติดัดสินใจว่าจะดับให้เงินช่วยเหลือแก่เจ้าหน้าที่เขมรแดงเนืองจากการฆาตกรรมพลเรือน ประเทศจีนฉวยโอกาสนั้นและเริ่มบริจาคเงินมากมายให้ประเทศกัมพูชา โดยเหตุนี้พวกชาติwตะวันตกไม่อาจสิทธิโดยอาศัแรงกดดันทางเศรษฐกิจอีกแล้ว ในทัศนะผม นี่คือหนึ่งในหลายสาเหตุที่อธิบายได้ทำไมสถานการณ์สิทธิมนุษยชนถึงแย่ลง

MOHON BANTU UNTUK BETULKAN SETIAP AYAT! - ภาษาไทย

  • Title
  • Ayat 1
    • บทความเรื่อง แอมเนสตี้ฯ พบ ๑๑๓ ประเทศทั่วโลก รวมไทย จำกัดสิทธิ คุกคามสื่อ กล่าวถึงบทวิเคราะห์ล่าสุดขององค์การ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชิ่นแนล ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนทั่วโลกในปี ๓๕๕๘ และ ๓๕๕๙ ภายในบทวิเคราะห์ดังกล่าวผู้เชี่ยวชาญทางด้านสิทธิมนุษยชนบ่งบอกว่าช่วงปี ๒๕๕๘ มีการละเมิดสิทธิด้านการแสดงออก คุกคามสื่อ ใน ๑๑๗ ประเทศ นายชำนาญ จันทร์เรือง ประธานกรรม แอมเนสตี้อินเตอร์เนชั่นแนลประเทศไทย เปิดเผยวา่ในกลุ่ม ๑๗๐ ประเทศที่ถูก แอมเนสตี้ สำรวจ มีอย่างน้อย ๑๑๓ ประเทศซึ่งปกครองด้วยรัฐลบาลที่ไม่ปัฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างชาติทางสิทธิมนุษยชน ในประเทศกลุ่มนั้นผู้คนและนักข่าวถูกรัฐบาลห้ามแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี ทั้งๆที่ในบางประเทศสถานการณ์ดีขึ้น แต่โดยมาก เหตุการณ์แย่ลง นายชำนาญ จันทร์เรือง ยังอธิบายว่าในปัจจุบันนี๋ มีคนจำนวนจนถึง ๖๐ ล้านที่กำลังหนีความเสี่ยงในประเทศของตัวเอง แม้แต่สัญญาหลากหลายระหว่างชาติหักหาญให้ผู้ลงนามต้องต้อนรับก็ตตาม แต่เจ้าหน้าที่ในหลายที่ยังไม่ยอมรับให้พวกผู้ลี้ภัยเข้าประเทศ และพยายามส่งผู้อพยพกลับไปประเทศของพวกเขา สิทธิมนุษยชนนับว่าเป็นแนวคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นในกลุ่มประเทศตะวันตก ทั้งๆที่ในประวัติศาสตร์เคยมีคนคิดออกแนวคิดคล้ายคลึง แต่สิทธิมนุษยชนซึ่งมีอยู่ในวันนี้เกิดจากการปัฏิวัติฝรั่งเศส ต่อไปแนวคิดนั้นแพร่กระจายไปทั่วโลก ในช่วงเวลาที่ผ่านมาจำนวนประเทศที่ปัฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนเพิ่มเติมเรื่อยๆ ในบางกรณีเจ้าหน้าที่ของประเทศที่กำลังพัฒนายอมประพฤติตามสิทธิดังกล่าวเพราะการรับเงินช่วยเหลือพัฒนาจากชาติตะวันตกขึ้นอยู่กับการกระทำนั้น ในปัจจุบันนี้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงแล้วเพราะประเทศใดที่ต้องการการช่วยเหลือในการพัฒนาไม่พึ่งชาติตะวันตกอีกแล้ว ในเขตเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มีประเทศใหม่ซึ่งสามารถลงทุนทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้านได้เช่นอินเดีย หรือ จีน ทั้งสองมีพลังทางเศรษฐกิจมากและไม่ค่อยสนใจเรื่องสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ตัวอย่างเช่น ในขณะที่องค์การสหประชาชาติดัดสินใจว่าจะดับให้เงินช่วยเหลือแก่เจ้าหน้าที่เขมรแดงเนืองจากการฆาตกรรมพลเรือน ประเทศจีนฉวยโอกาสนั้นและเริ่มบริจาคเงินมากมายให้ประเทศกัมพูชา โดยเหตุนี้พวกชาติwตะวันตกไม่อาจสิทธิโดยอาศัแรงกดดันทางเศรษฐกิจอีกแล้ว ในทัศนะผม นี่คือหนึ่งในหลายสาเหตุที่อธิบายได้ทำไมสถานการณ์สิทธิมนุษยชนถึงแย่ลง
      Undi sekarang!
    • บทความเรื่อง แอมเนสตี้ฯ พบ ๑๑๓ ประเทศทั่วโลก รวมไปถึงไทย จำกัดสิทธิ คุกคามสื่อ กล่าวถึงบทวิเคราะห์ล่าสุดขององค์การ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชิ่นแนล ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนทั่วโลกในปี ๕๕๘ และ ๕๕๙ ¶
      ภายในบทวิเคราะห์ดังกล่าวผู้เชี่ยวชาญทางด้านสิทธิมนุษยชน
      บ่งบอกกล่าวว่าช่วงปี ๒๕๕๘ มีการละเมิดสิทธิด้านการแสดงออก คุกคามสื่อ ใน ๑๑๗ ประเทศ ¶
      นายชำนาญ จันทร์เรือง ประธานกรรม
      การแอมเนสตี้อินเตอร์เนชั่นแนลประเทศไทย เปิดเผยวในกลุ่ม ๑๗๐ ประเทศที่ถูก แอมเนสตี้ สำรวจ มีอย่างน้อย ๑๑๓ ประเทศซึ่งปกครองด้วยรัฐบาลที่ไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีข้อตกลงระหว่างชาติทาเรื่องสิทธิมนุษยชน ในประเทศกลุ่มนั้นผู้คนและนักข่าวถูกรัฐบาลห้ามแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี ทั้งๆที่ในบางประเทศสถานการณ์ดีขึ้น แต่โดยมาก เหตุการณ์แย่ลง ¶
      นายชำนาญ จันทร์เรือง ยังอธิบายว่าในปัจจุบันนี๋ มีคนจำนวนจนถึง ๖๐ ล้านที่กำลังหนีความเสี่ยงในประเทศของตัวเอง แม้แต่สัญญาหลากหลายระหว่างชาติหักหาญให้ผู้ลงนามต้องต้อนรับก็ต
      าม แต่เจ้าหน้าที่ในหลายที่ยังไม่ยอมรับให้พวกผู้ลี้ภัยเข้าประเทศ และพยายามส่งผู้อพยพกลับไปประเทศของพวกเขา¶

      สิทธิมนุษยชนนับว่าเป็นแนวคิดที่
      ประดิษฐ์เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศตะวันตก ทั้งๆที่ในประวัติศาสตร์เคยมีคนคิดออกแนวคิดคล้ายคลึง แต่สิทธิมนุษยชนซึ่งมีอยู่ในวันนี้เกิดจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ต่อไปแนวคิดนั้นแพร่กระจายไปทั่วโลก ในช่วงเวลาที่ผ่านมาจำนวนประเทศที่ปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนเพิ่มเติมเรื่อยๆ ในบางกรณีเจ้าหน้าที่ของประเทศที่กำลังพัฒนายอมประพฤติตามสิทธิดังกล่าวเพราะการรับเงินช่วยเหลือพัฒนาจากชาติตะวันตกขึ้นอยู่กับการกระทำนั้น¶
      ในปัจจุบันนี้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงแล้วเพราะประเทศใดที่ต้องการการช่วยเหลือในการพัฒนาไม่พึ่งชาติตะวันตกอีกแล้ว ในเขตเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มีประเทศใหม่ซึ่งสามารถลงทุนทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้านได้เช่น
      อินเดีย หรือ จีน ทั้งสองมีอิทธิพลังทางเศรษฐกิจมากและไม่ค่อยสนใจเรื่องสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ตัวอย่างเช่น ในขณะที่องค์การสหประชาชาติดัดสินใจว่าจะดับให้เงินช่วยเหลือแก่เจ้าหน้าที่เขมรแดงเนืองจากการฆาตกรรมพลเรือน ประเทศจีนฉวยโอกาสนั้นและเริ่มบริจาคเงินมากมายให้ประเทศกัมพูชา¶
      ้วยเหตุนี้พวกชาติwตะวันตกไม่อาจสิทธิโดยอาศัแรงกดดันทางเศรษฐกิจอีกแล้ว ในทัศนะความคิดของผม นี่คือหนึ่งในหลายสาเหตุที่อธิบายได้ทำไมสถานการณ์สิทธิมนุษยชนถึงแย่ลง¶
    • TAMBAH PEMBETULAN YANG BARU! - Ayat 1TAMBAH PEMBETULAN YANG BARU! - Ayat 1